แผนการจัดการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว เวลา 15 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม เวลา 1 ชั่วโมง

สาระสำคัญ
ปริซึม คือ
ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ
และฐานทั้งคู่
อยู่ในระนาบที่ขนานกัน
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติได้
ตัวชี้วัด
มฐ
ค 3.1 ม.3/1 อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด
ทรงกระบอก กรวย
และทรงกลม
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.
สามารถหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึมได้
2.
สามารถบอกลักษณะและสมบัติของปริซึมได้
สาระการเรียนรู้
ปริซึม
-
ลักษณะของปริซึม
กิจกรรมการเรียนรู้
1.
นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
2.
สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับรูปทรงเรขาคณิตที่นักเรียนเคยเห็น
พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
ประกอบ
3. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น
กลุ่มละ 4-5
คน
นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษารูปทรงปริซึม
ซึ่งครูได้นำมาให้นักเรียนได้ดู
แล้วนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสร้างรูปปริซึม มากลุ่มละ 1 ชิ้น ตามที่ครูกำหนดให้ ได้แก่
กลุ่มที่ 1 ปริซึมสามเหลี่ยมด้านเท่า
กลุ่มที่ 2 ปริซึมสามเหลี่ยมมุมฉาก
กลุ่มที่ 3 ปริซึมสี่เหลี่ยมผืนผ้า
กลุ่มที่ 4 ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส
กลุ่มที่ 5 ปริซึมแปดเหลี่ยมด้านเท่า
ให้นักเรียนบอกฐานของปริซึมและส่วนสูงของปริซึมที่นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสร้างขึ้นมา
แล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียนให้เพื่อนๆได้ทราบและสรุปช่วยกัน ดังนี้
ปริซึม คือ
ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ และฐานทั้งคู่
อยู่ในระนาบที่ขนานกัน
การเรียกชื่อปริซึม
จะเรียกตามฐานของปริซึม เช่น ฐานเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เรียกว่า ปริซึม
สี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานเป็นสามเหลี่ยม เรียกว่า ปริซึมสามเหลี่ยม เป็นต้น
4. ให้นักเรียนไปศึกษาฐานและความสูงของปริซึมจากที่นักเรียนร่วมกันสร้างขึ้น
เสร็จแล้วร่วมกันนำปัญหาชวนคิดมาขบคิดกัน เมื่อได้คำตอบแล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.
ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ เมื่อทำเสร็จแล้วให้เปลี่ยนกันตรวจ แล้วส่งครู
บันทึกคะแนน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. รูปทรงปริซึมทรงต่างๆ
2. กระดาษโปสเตอร์แข็ง , กาว , กรรไกร
3.
ห้องสมุดโรงเรียน
4.
แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
5. แบบฝึกหัด
6. แบบทดสอบก่อนเรียน
การวัดผล / ประเมินผล
การวัดผล
1. วิธีการวัดผล
1.1
สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
1.2
สังเกตจากการตอบคำถามและร่วมกิจกรรม
1.3
ตรวจแบบฝึก
2.
เครื่องมือวัดผล
2.1
แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
2.2
แบบฝึกคณิตศาสตร์
2.3
แบบทดสอบก่อนเรียน
การประเมินผล
1.
โดยถือเกณฑ์ผ่านจากการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียนคิดเป็นร้อยละ
50 ขึ้นไป
2.
โดยถือเกณฑ์ผ่านจากการตรวจแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์
ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)…………………………….
(…………………………..)
ตำแหน่ง ………………………………….
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………….……………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………...………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………...………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ) ………..............…………….. ผู้สอน
(
……….....................……………. )
ตำแหน่ง……………............................………
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น